รถเข็น (0 ชิ้น)
 

หน้า :
"นโยบายสาธารณะของไทย กับ ปัญหาประชาธิปไตยร่วมสมัยในยุคปัจจุบัน" (1743/0)

สนทนาติดตามนโยบายสาธารณะ ตามธรรมนูญสุขภาพ 2550 
"นโยบายสาธารณะของไทย กับ ปัญหาประชาธิปไตยร่วมสมัยในยุคปัจจุบัน" 

เป็นการประชุมร่วมระหว่าง สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.) และ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุมสานใจ 2 อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข ที่ผ่านมา

 



ประชุมวิชาการ 10 ปี สวสส. (1702/0)

เรื่อง "แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน"
(Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital)
วันที่ 6-7 สิงหาคม 2556


"ศุกร์เสวนา" 15 พ.ย. 2556 (1631/0)

เรื่อง “หอประวัติศาสตร์สุขภาพ : งานออกแบบการเรียนรู้สำหรับคนร่วมสมัย”
โดย ปารณัฐ สุขสุทธิ์

ร่วมด้วย ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ 



นโยบายสาธารณะของไทย กับ ปัญหาประชาธิปไตยร่วมสมัยในยุคปัจจุบัน (3220/0)

เมื่อประชาธิปไตยถูกตั้งคำถามจากหลายมุมมอง ได้มีการเสนอวิธีคิดเพื่อให้ “ความเป็นประชาธิปไตย” มีความสมบูรณ์แบบมากขึ้น
 


เสวนา และ workshop "เผชิญความตายอย่างสงบ" (1766/0)

สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ เครือข่ายพุทธิกา และภาคีด้านสุขภาพ
ขอเชิญร่วมฟังเวทีเสวนา และ workshop

"เผชิญความตายอย่างสงบ : เรียนรู้ผ่านการจากไปของสุภาพร พงศ์พฤกษ์" 



ศุกร์เสวนา 8 พฤสจิกายน 2556 (13.30-16.30 น.) (1037/0)

เรื่อง “ข้ามพรมแดนวัฒนธรรมสุขภาพ”
โดย บุษบงก์ วิเศษพลชัย
ร่วมด้วย  อาจารย์แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง

 


“การสำรวจสถานภาพความรู้ : เรื่องเล่าเพื่อการเยียวยา (Narrative Medicine)” (1793/0)

หนึ่งในโครงการวิจัยที่กำลังจะเปิดพื้นที่ใหม่ๆ ในการศึกษา
สังคมศาสตร์-มนุษย์ศาสตร์-การแพทย์

"ศุกร์เสวนา" 18 ต.ค. 2556 

 


ศุกร์เสวนา 1 พฤศจิกายน 2556 (13.30-16.30 น.) (1074/0)

“เอกสารส่วนบุคคลศาสตราจารย์นายแพทย์เสม พริ้งพวงแก้ว กับประวัติศาสตร์สุขภาพไทย”

โดย  ทีมหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์สุขภาพไทย

 


"ศุกร์เสวนา" 18 ต.ค. 2556 (1178/0)

“การสำรวจสถานภาพความรู้ : เรื่องเล่าเพื่อการเยียวยา”

หนึ่งในโครงการวิจัยที่กำลังจะเปิดพื้นที่ใหม่ ๆ
ในการศึกษาสังคมศาสตร์-มนุษย์ศาสตร์-การแพทย์
 



"คนขายตัวบ้า คนบ้าขายตัว กับ หมาสาม สี่ ตัว" (1206/0)

ขอเชิญร่วมเสวนาวิชาการแบบสบายๆ สไตล์ "ศุกร์เสวนา"

 
เรื่อง "คนขายตัวบ้า คนบ้าขายตัว กับ หมาสาม สี่ ตัว"
โดย นางบุษบงก์ วิเศษพลชัย 
ร่วมด้วย ดร.อนุสรณ์ อุณโณ
 


ศุกร์เสวนา 1 พฤษภาคม 2552 เรื่อง "ประวัติศาสตร์ระบบสุขภาพไทย" (2134/0)

จากการสนับสนุนของคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ซึ่งเป็นจุดกำเนิดโครงการจัดตั้งหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ระบบสุขภาพไทย ภายใต้การดำเนินงานโดย สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ

 

 



โครงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การใช้เครื่องมือวิถีชุมชน (6837/2)

        โครงการประกวดผลงานประสบการณ์การใช้เครื่องมือวิถีชุมชน 7 ชิ้น (แผนที่เดินดิน ผังเครือญาติ ผังโครงสร้างองค์กร ระบบสุขภาพชุมชน ปฏิทินชุมชน ผังประวัติศาสตร์ชุมชน และผังประวัติชีวิต) ของคนทำงานปฐมภูมิ



การประกวดภาพถ่าย “สุขภาพปฐมภูมิ บริการปฐมภูมิ” (3984/0)

       นำเสนอแง่มุมที่งดงามและสุนทรียภาพของงานสุขภาพปฐมภูมิผ่านภาพถ่ายของบุคลากรในชุมชน เพื่อประโยชน์ในการนำไปเผยแพร่แก่สังคมวงกว้าง สร้างให้เกิดการยอมรับคุณค่า เอกลักษณ์และอุดมคติของงานปฐมภูมิที่สะท้อนชีวิตคนทำงานสุขภาพปฐมภูมิในมิติการดูแลสุขภาพที่มากกว่าเทคนิคการรักษาพยาบาล โดยเน้นภาพถ่ายที่สะท้อนปรัชญา คุณค่า เอกลักษณ์ อุดมคติของบริการปฐมภูมิ



พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ตัวอาคาร การตกแต่งภายใน และภูมิสถาปัตย์ สถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ (10807/2)

         เพื่อให้ได้แนวทางการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือต่อเติมตัวอาคารของสถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ หรือโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ รูปแบบเดิมที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน การตกแต่งภายในตัวอาคาร การปรับปรุงภูมิสถาปัตย์ เพื่อเอื้อต่อคุณภาพชีวิต รูปแบบการทำงานของคนทำงาน การรับบริการ และได้แบบอาคารสถานบริการสุขภาพปฐมภูมิใหม่ที่สอดคล้องกับแนวคิดการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมและระบบนิเวศวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น



ประกวดนวัตกรรมส่งเสริมระบบบริการปฐมภูมิ (14719/1)

เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมสุขภาพร่วมกันระหว่างเครือข่ายคนทำงานเพื่อให้เกิดการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การประดิษฐ์นวัตกรรมสุขภาพใหม่ ๆ ที่สอดคล้องกับแต่ละบริบทการทำงานในระบบบริการปฐมภูมิ เกิดตัวอย่างรูปธรรมของเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่หลากหลายสำหรับคนทำงานปฐมภูมิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทการทำงานแต่ละพื้นที่

 



ประกวดเรื่องเล่า “จินตนาการสุขภาพใหม่ ปี 2” (4325/4)

      โครงการประกวด "เรื่องเล่าจินตนาการสุขภาพใหม่ ปี 2" การถ่ายทอดคุณค่าและเสน่ห์ของงานสุขภาพปฐมภูมิที่เข้าถึงชีวิตและมีความละเอียดอ่อนต่อมิติของความเป็นมนุษย์ผ่านงานเขียนที่มีแรงบันดาลใจจากการทำงานสุขภาพชุมชน



หน้า :
E-Mail

รหัสผ่าน

จดจำการล๊อคอิน

สมัครสมาชิก ลืมรหัสผ่าน