รถเข็น (0 ชิ้น)
 
หน้า :
“ก้าวใหม่ R2R: จากการสร้างความรู้ สู่การสร้างความเปลี่ยนแปลง” (4171)

ดาวน์โหลดสไลด์ประกอบการบรรยายพิเศษ

“ก้าวใหม่ R2R: จากการสร้างความรู้ สู่การสร้างความเปลี่ยนแปลง”
โดย ดร. นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ 

จากการประชุม R2R ครั้งที่ 9 “R2R  ๙ แห่งการเรียนรู้ ๙ สู่นโยบาย” 
เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2559 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค ฟอรั่ม  เมืองทองธานี

บทความประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ "ทบทวนสถานะองค์ความรู้มิติสังคมวัฒนธรรมกับความเสี่ยงสุขภาพ" (4034)

บทความต่างๆในหัวข้อ มิติสังคมวัฒนธรรมกับความเสี่ยงสุขภาพ, ความเสี่ยงสุขภาพในมุมมองทางสังคมศาสตร์ และ ระบาดวิทยาวัฒนธรรม

 

Power Point ประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ "ทบทวนสถานะองค์ความรู้มิติสังคมวัฒนธรรมกับความเสี่ยงสุขภาพ" (11562)

เมื่อวันที่ 24-26 กุมภาพันธ์ 2559
ณ โรงแรมบัดดี้ โอเรียลทอล ริเวอร์ไซต์ ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 
 

จากโอกาส สู่โอกาส… กับพยาบาลไร้หมวก (3321)

ขอบคุณโอกาสที่ให้เราเกิดมาเป็นมนุษย์ แล้วได้เกิดมามีอาชีพ “พยาบาล”
17 ปีกับการเป็นพยาบาลอยู่ห้องฉุกเฉิน ห้องคลอด ห้องผ่าตัด ตึกผู้ป่วยใน
 

สุขศาลา "งานบันดาลใจ" (3595)

การเริ่มต้นศักราชใหม่เป็นโอกาสของการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งใหม่ๆ สุขศาลาฉบับที่ 23 ปรับโฉมใหม่ ทั้งรูปเล่มและเนื้อหา พร้อมๆ กับการเปิดภารกิจใหม่ภายใต้ชื่อ “งานบันดาลใจ” 
ความจริงจะเรียกว่า ภารกิจใหม่ ไปเสียทีเดียวก็คงไม่ถูกนัก เพราะที่ผ่านมา...
ปฏิรูปสุขภาพ ปฏิรูปประชาธิปไตย (2196)

บทสรุปโดยสังเขป 
ปฏิรูปสุขภาพ ปฏิรูปประชาธิปไตย : สมัชชาสุขภาพ การมีส่วนร่วมกับประชาธิปไตยแบบร่วมไตร่ตรอง  
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ
 
ศาสตร์-อศาสตร์: มานุษยวิทยา ณ จุดเปลี่ยนทางภววิทยา (2617)

ศาสตร์-อศาสตร์: มานุษยวิทยา ณ จุดเปลี่ยนทางภววิทยา
Science and Non-Science: Anthropology at the Ontological Turn 
โดย โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์
วัฒนธรรมสุขภาพในสังคมอาเซียน (3239)

"คำนำจากหนังสือ วัฒนธรรมสุขภาพในสังคมอาเซียน โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ เทพินทร์ พัชรานุรักษ์ และปารณัฐ สุขสุทธิ์ บก. (2014) นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ."

ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่ 

อารมณ์ วิทยาศาสตร์กับการแพทย์: มนุษยศาสตร์กับโฉมหน้าความเป็นมนุษย์ของการแพทย์ (8519)

บทความประกอบการอภิปราย เรื่อง "ห้ามมีอารมณ์กับอารมณ์ต้องห้าม" ในการประชุมมนุษยศาสตร์ประจำปี พ.ศ. 2551
ณ โรงละคร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551 โดย โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

 

องค์กรปรนัย บทความจากคอลัมน์ คิดสลับขั้ว โดย โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ (9456)

จะว่าไปแล้ว คนในสังคมเมืองโดยเฉพาะพวกมนุษย์เงินเดือนอย่างพวกผมใช้เวลาส่วนใหญ่ของชีวิตอยู่กับที่ทำงานมากกว่าอย่างอื่น

การต่อต้านขัดขืนกับการผลิตซ้ำทางอุดมการณ์ (7181)

“หมอแว่น” เป็นหมออนามัยที่เพิ่งจบการศึกษาจากวิทยาลัยสาธารณสุขแห่งหนึ่งและได้รับการบรรจุมาเป็นเจ้าพนักงานอนามัยที่นี่

 

"รากฐานปรัชญาวิจัยจากงานประจำ (Routine to Research)" (8870)

ปัจจุบันแนวคิดการวิจัยจากงานประจำ (Routine to Research) หรือ R2R กำลังขยายวงกว้างออกไปสู่สถาบันการศึกษาและหน่วยงานด้านการสาธารณสุข

ประวัติศาสตร์นิพนธ์กับการแพทย์และการสาธารณสุขไทย (4527)

เอกสารประกอบการประชุมศุกร์เสวนา 24 กรกฎาคม 2552

 

เรื่องเล่าจาก รพ.ชุมชน: ถกเถียงกับ "ความจริง" ของการแพทย์ชีวภาพ (5926)

บทความ ตั้งคำถามกับการกล่าวอ้างว่าความรู้ทางการแพทย์เป็นไปเพื่อการเยียวยาความเจ็บป่วยของผู้คน เป็นความรู้ที่เป็น "ความจริงแท้" "เป็นสากล" และ "ปราศจากเงื่อนไขทางวัฒนธรรมใดๆ" การอ้างเช่นนี้เป็นจริงละหรือ โดย ทพ.อติศักดิ์ จึงพัฒนาวดี คณะทันตแพทย์ศาสตร์ ม.เชียงใหม่ คลิกอ่านเพิ่มเติม

 

 

อารมณ์ วิทยาศาสตร์ กับการแพทย์ (4705)

บทความชิ้นนี้ ท้าทายกับการที่อารมณ์ถูกกันออกไปจากวิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่เก็บกดอารมณ์ของเจ้าหน้าที่คนทำงานไว้ไม่ให้แสดงออก อารมณ์กลายเป็นสิ่งอันต้องห้าม หนำซ้ำบอกว่าเป็นอคติ นำมาซึ่งความไม่เป็นกลางภายใต้วิธีการทำงานแบบวิทยาศาสตร์สุขภาพ คลิกอ่านเพิ่มเติม

sense & sensibility องค์กร ผัสสะ และสุนทรียภาพ (3986)

การบรรยาย เริ่มต้นจากการสืบสาวให้เห็นจุดหักเหของรากฐานทางปรัชญาที่สุนทรียศาสตร์และวิทยาศาสตร์แยกจากกัน จนวิทยาศาสตร์กลายเป็นแม่แบบหนึ่งเดียวที่มนุษย์เราใช้คิด ใช้ตรวจสอบความจริง เมื่อการพิสูจน์ความจริงขาดไร้ซึ่งสุนทรียศาสตร์ อารมณ์ ผัสสะ ความรู้สึก จึงขาดหายไปจากชีวิตของผู้คน ไม่นับว่าเป็นความจริง เพราะยากที่วิธีการทางวิทยาศาสตร์จะตรวจสอบได้ ตอนท้ายของการบรรยาย นพ.โกมาตร ได้เสนอว่าเราจะปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เช่น ภูมิสถาปัตย์ แสง สี เสียง ในชีวิตการทำงานประจำวันอย่างไร เพื่อที่จะดึงสุนทรียภาพกลับมาในชีวิตและเพื่อที่เราจะไม่กลายเป็นคนที่แข็งทื่อและด้านชากับอารมณ์ความรู้สึกทั้งของตัวเองและผู้ป่วย คลิกอ่านเพิ่มเติม

การวิจัยเชิงคุณภาพในงานสุขภาพปฐมภูมิ (5332)

การวิจัยเชิงคุณภาพ อาจไม่ได้ยากอย่างที่เราคิด หากเราเริ่มต้นตั้งแต่เข้าใจรากฐานทางปรัชญาของการทำวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นตัวกำกับวิธีการตั้งประเด็น การตั้งคำถาม การเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งมีลักษณะของการแสวงหาความรู้ที่แตกต่างจากการวิจัยเชิงปริมาณ คลิกอ่านเพิ่มเติม

หน้า :
E-Mail

รหัสผ่าน

จดจำการล๊อคอิน

สมัครสมาชิก ลืมรหัสผ่าน